Chanaip Traveller
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนำเที่ยวเลขที่ 51/00994
LINE@
Chanaip Traveller
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนำเที่ยวเลขที่ 51/00994
LINE@
Chanaip Traveller
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนำเที่ยวเลขที่ 51/00994
LINE@
Chanaip Traveller
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนำเที่ยวเลขที่ 51/00994
LINE@
Previous slide
Next slide

พระธาตุเจดีย์หลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี (ลาว: ທາດຫລວງ หรือ ลาว: ພຣະທາດຫລວງ)

พระธาตุที่เป็นปูชนีย์สถานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญสวยงามและมีขนาดใหญ่สีทองสง่างาม กลางเมืองเวียงจันทน์ รวมทุกศิลปลาวล้านช้าง สัญญลักษณ์เมืองลาว

พระธาตุหลวงเวียงจันทน์พระธาตุหลวงเจดีย์ใหญ่สวยงามที่สุดในพระราชอาณาจักรลาว สถาปัตยกรรมธาตุหลวงเป็นศิลปกรรมลาวโบราณ ถือว่าเป็นศิลปะกรรมปลาโบราณไว้อย่างครบถ้วน เพื่อเป็นหลักฐานการก่อสร้างให้แก่คนรุ่นหลังทราบ การก่อสร้างเมื่อ 400 ปีที่ผ่านมาทำให้เข้าใจการดำรงค์ชีวิตสมัยล้านช้างในสมัย 400 ปีที่ผ่านมา

เรื่องราวของพระธาตุหลวงมีส่วนเกี่ยวพันธุ์กับพระธาตุพนมพระธาตุอื่นๆที่สร้างขึ้นโดยช่างลาวโบราณ มีหลักฐานมาจากแหล่งเดียวกันคือหนังสืออุรังคธาตุหรืออุรังคนิทานซึ่งเป็นนิทานโบราณของลาวเรื่องนึง ในหนังสืออุรังคธาตุกล่าวว่าพระธาตุหลวงฟังอยู่ที่ประดิษฐานเสาหินของพระเจ้าอโศกมหาราชประเทศอินเดียเสาหินซึ่งบรรจุไว้ซึ่งพระสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เรียกว่าหนองคันแท

จากหลักฐาน ตำนานหนังสืออุรังคะธาตุกล่าวว่าเป็นสถานที่ประดิษฐานเสาหินของพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งประเทศอินเดียเสาหินแห่งนี้บรรจุไว้ซึ่งพระบรมมาสารีริกธาตุของพระเจ้า ซึ่งเกี่ยวพันกับพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จเยี่ยมสถานที่สำคัญต่างๆเพื่อเป็นอุบายอย่างหนึ่งของนักซึ่งเกี่ยวพันกับพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จเยี่ยมสถานที่สำคัญต่างๆ เพื่อเป็นอุบายอย่างหนึ่งของนักปราชโบราณเพื่อชักจูงความเชื่อถือให้ประชาชนเห็นความสำคัญของปูชนียสถานเหล่านี้

รูปวาดสีน้ำมันของพระยาจันทะบุรีหรือพระยาบุรีจัน อวยล่วย ที่แสดงในกรมเลียนพระทาดหลวง

จากหลักฐานโบราณคดีลักษณะของพระพุทธรูปหินจากฐานรากของด้วยหินศิลาแลง สันนิษฐานได้ว่าพระธาตุหลวงเคยเป็นเสาหินสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่หกในสมัยอาณาจักรศรีโคตรตะบองหรือสมัยก่อนเขมรโบราณจะมีอำนาจครอบครองแผ่นดินของประเทศลาว
หนังสืออุรังคะธาตุบางตอนกล่าวว่า " พระยาบุรีจัน " ผู้สร้างนครหลวงเวียงจันทน์ได้รับคำบอกเล่าจากพระเถระชาวอินเดียว่าที่นี่เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่บรรจุพระสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหลายในขณะที่นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเมืองขึ้นของเมืองศรีโคตรตะบองหรือมฤขนคร(ท่าแขกเก่า)

พระธาตุหลวงเวียงจันทน์ศิลปะลาวโบราณสถาปัตยกรรมจุลศิลป์บ่งบอกถึงอดีตจาก 400 ปีทำให้เข้าใจถึงการดำรงค์ชีวิตอยู่อาศัยลักษณะของเมืองลาวสมัย ล้านช้าง ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างโบราณ ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้

มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างโบราณ ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างลาวโบราณพระธาตุหลวงเวียงจันทร์จากหลักฐานที่ปรากฏเริ่มต้นที่ศตวรรษที่ 16 ในราชการของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช เนื้อศิลาบอกไว้ว่าได้สร้างขึ้นเมื่อจุลศักราช928(คศ1566)หลังจากสถาปนาเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวง 6 ปี

จากฐานรากของด้วยศิลาแลงลักษณะของพระพุทธรูปหินศิลาแรง สันนิษฐานได้ว่าพระธาตุหลวงเคยเป็นเสาหินสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่หกในสมัยอาณาจักรศรีโคตรตะบองหรือสมัยก่อนเขมรโบราณ จะมีอำนาจครอบครองแผ่นดินของประเทศลาว

เมื่อคราวสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชที่หนึ่งได้ย้ายเมืองหลวงจากเมืองเชียงทองหรือหลวงพระบางมาตั้งเมืองเวียงจันทน์แทนก็เลยสร้างเจดีย์คร่อมเสาหินที่พระยาจันทบุรีสร้างขึ้น เพื่อบรรจุพระบรมมาสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าตามแบบอย่างของพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ต่อมาในศตวรรษที่ 6 อำนาจของเขมรโบราณได้แพร่เข้ามาครอบครองดินแดนล้านช้าง โดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองหาดทรายฟอง ที่ได้ค้นพบประติมากรรมขอมเช่นอนุสาวรีย์พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งประดิษฐานอยู่ที่วิหารน้อยข้างพระทาดทางทิศเหนือ

จากการสำรวจพระพุทธรูปหินที่ " ถ้ำวังช้าง "เมืองโพนโฮง จากหลักฐานปรากฏว่าสร้างขึ้นประมาณคริสตศักราช 1002 ในรัชกาลของพระเจ้าสุริยวรมัณห์ที่ 1ที่น่าสนใจที่สุดคือศิลาเรื่องสร้างโรงพยาบาลที่เมืองหาดทรายฟองในรัชกาลของพระเจ้า ชัยยะวรมันที่ 7 จากหลักฐานนี้แสดงให้เห็นว่าเวียงจันทน์ได้ให้ความสำคัญแก่เมืองหาดทรายฟองให้เป็นเมืองหลวง เริ่มจากปลายศตวรรษที่ 9 แต่ว่าเรื่องราวของพระธาตุหลวงก็ไม่มีปรากฎ หลักฐานใดใดอย่างแจ่มแจ้งเพียงแต่มีคำบอกเล่าสืบต่อกันมาจนถึงศตวรรษที่ 14 สมัยที่อาณาจักรล้านช้างมีอำนาจขึ้นทดแทนเขมรโบราณ พระมหาปัสมันเถระหัวหน้าธรรมทูตเขมรได้เดินทางมาเผยแพร่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทสายลังกาเมื่อค.ศ. 1359 ในรัชกาลสมัยพระยาฟ้างุ้มระหว่างพักอยู่เมืองเวียงจันทน์

จากเนื้อความของศิลาบอกไว้ว่าสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชได้สร้างขึ้นเมื่อจุลศักราช 928
หลังจากสถาปนานครหลวงเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวงหกปีสาเหตุที่สร้างเจดีย์พระธาตุหลวงดังนี้

........ข้าฯปรารถนาให้สุขนครหลวงของพระองค์มีปูชนียสถานอันยิ่งใหญ่และเป็นมิ่งขวัญของนครหลวงคล้ายเจดีย์หลวงแห่งนครเชียงใหม่
........ข้าฯปรารถนาอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาตามแบบอย่างของพระเจ้าติโลกราชแห่งนครหลวงเชียงใหม่หรือเหมือนพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งอินเดีย

……..ข้าฯ (สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช)ได้ปรารถนาอยากเป็นพระโพธิสัตว์เพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

……….ข้าฯปรารถนาอยากให้มีบุญประจำปีเพื่อเป็นนโยบายทดสอบน้ำใจของเจ้าของนครต่างๆว่ามีความซื่อสัตย์ต่อพระองค์แทนพิธีเลี้ยงผีฟ้าผีแถนเหมือนสมัยก่อนที่พญาฟ้างุ้มและกษัตริย์องค์อื่นเคยทำมาเป็นประจำ

จากการนั้นสันนิษฐานเห็นว่าหลักหินทางทิศตะวันออกของพระนครคือพระธาตุหลวงปัจจุบันและอาจเป็นแหล่งสำคัญทางพระพุทธศาสนาแต่เก่าก่อนและเป็นที่บรรจุพระบรมมาสารีริกธาตุของพระเจ้าจึงได้พาไพร่พลสร้าง เจดีย์ใหญ่ คร่อมหลักหินโบราณโดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนสถูป

โดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนจะสถูป โดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนสถูปศิลปะคล้ายอินเดียแต่ประดับตกแต่งด้วยศิลปะลาวล้วนเนื่องจากพระองค์ทรงปรารถนาโพธิญาณจึงได้มีแนวคิดสร้างพระธาตุองค์ 30 องค์ เป็นบริวารหมายถึงพระบอกเลยมี 30 ทิศ ภายในภาคเล็กเหล่านี้ได้เอาทองคำหล่อเป็นพระธาตุบริวารอีกมีจำนวนหน่วยละ 4 บาทบรรจุไว้ภายในพระธาตุ

เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้ถวายพระนามว่า"พระเจดีย์โลกะจุฬามณี"หมายความว่าเจดีย์เกตุแก้ว ในโลกมนุษย์นี้หรือเจดีย์แก้วที่อยู่สุดของยอดโลก ปรารถนาอยากให้เมืองของพระธาตุองค์นี้เป็นของแผ่นดินเป็นประธาตุใหญ่ที่สุดมีความศักดิ์สิทธิ์ที่สุดประชาชนจึงเรียกว่าพระธาตหลวงแต่นิยมเรียกว่าพัดธาตุหลวงเวียงจันทร์เพราะว่า ชื่อไปซ้ำกันกับพระธาตุหลวงที่หลวงพระบาง

รูปปั้นพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แกะจากหินทราย แสดงอยู่พระธาตุหลวง เวียงจัน

พระธาตุหลวง ปัจจุบัน

ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายแตงโมผ่าครึ่งวางบนฐานรูป 4 เหลี่ยม ยอดพระธาตุเป็นศิลปะลักษณะมีลักษณะเป็นดอกบัวตูมหรือวงปีรูปสี่เหลี่ยมมีประธาตุบริวารยอดแหลมแวดล้อมถัดลงมาเป็นกำแพงสองด้าน ยอดพระธาตุเป็นศิลปะลักษณะมีลักษณะเป็นดอกบัวตูมหรือวงปี รูปสี่เหลี่ยมมีพระธาตุบริวารยอดแหลมแวดล้อมถัดลงมาเป็นกำแพงสองชั้น ซึ่งประดับไปด้วยใบเสมาคล้ายกำแพงพระราชวังของปราสาทเข้าใจว่าสร้างตามอุดมคติของพระราชวังลาวโบราณวัสดุที่ใช้ก่อสร้างใช้อิฐแดงศิลาแลงโดยเฉพาะตัวพระธาตุ สร้างด้วยหินศิลาแลง

พระธาตุหลวงแบ่งเป็นส่วนส่วนสำคัญสำคัญได้ดังนี้

ระเบียงคดรอบองค์ประธานเปรียบเหมือนกำแพงเมืองฉันนอกยาว 91 เมตรกว้าง 75 เมตรมีประตูของ 4 ด้านกำแพงระเบียงคดมีช่องระบายอากาศลมภายในระเบียงคดคือ สนามพระธาตุ

ชั้นใต้สุดของพระธาตุเปรียบเหมือนกำแพงเมืองฉันกลางชั้นนี้เป็นชั้นของพระธาตุมีความกว้างจากทิศเหนือไปทางทิศใต้ 68 เมตรจากตะวันออกไปตะวันตก 49 เมตร

ฐานพระธาตุเป็นที่ตั้งของกำแพงชั้นนอกของพระธาตุกำแพงชนิดตกแต่งด้วยใบเสมา 323 ใบ จะเห็นหอไหว้หลังยอดทั้งสี่ด้านของชั้นประธานโดยเฉพาะด้านตะวันออก

หอไหว้ ได้คล่อมพระธาตุองค์เล็กเอาไว้พระธาตุองค์เล็กประดับตกแต่งด้วยลายพอกทองคำเปลวงดงามซึ่งอาจเป็นพระธาตุจำลองหรือพระธาตุเดิมก็ได้

ชั้นที่สองของพระธาตุเปรียบเหมือนกำแพงเมืองชั้นนอกหมายถึงกำแพงแก้วอยู่ในหอไหว้กำแพงแก้ว มีประตูสี่ด้านมีบันไดขึ้นลงตกแต่งด้วยใบเสมา 223 ใบ ล้อมรอบด้วยใบบัวใหญ่ในลักษณะกำลังบานจำนวน 120 ใบ กำแพงชั้นนี้แวดล้อมเองก็ธาตุบริวารทั้งสาม 10 องเรียกว่าสัตว์ตัสสงสปารณีองค์พระธาตุบริวารเหมือนจะเป็นป้อมต้อนรับแวดวงมหาปราสาทคือพระธาตุองค์ใหญ่ไว้ กล่าวว่าพระธาตุบริวารเหล่านี้เมื่อก่อนมีทองคำโอบทั้งหมด

ชั้นที่สามเปรียบเหมือนประสาทและโรงหลวงชั้นนี้คือชั้นของธาตุใหญ่นั่นเอง ตั้งอยู่ภายในพระธาตุบริวารมีความกว้างด้านละ 30 เมตร แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือเตากระทะมีลักษณะเหมือนแตงโมผ่าครึ่ง ฐานยอดพระธาตุอยู่หลังพระธาตุ มีรูปสี่เหลี่ยมล้อมรอบด้วยดอกบัวกำลังบานยอดพระธาตุมีลักษณะสี่เหลี่ยม ส่วนปลายของพระธาตุมีรูปสี่เหลี่ยมเพื่อให้กลมกลืนกับตัวพระธาตุเลี้ยวเหมือนดอกบัวตูมความสูงของพระธาตุ 45 เมตร

ชั้นของพระธาตุมีความหมายคิอ ภูมิ หมายถึง พื้นเพรือชั้นของจิต และเจตสิกที่ละเอียดประณีตขึ้นไปตามลำดับ 

ขั้นที่ 1 กามาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในกาม

ขั้นที่ 2  รูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในรูป หมายถึง ชั้นแห่งจิตและเจตสิก 

ขั้นที่ 3 อรูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวในอรูปธรรมเป็นอารมณ์

พระพุทธรูปโบราณที่นำมาวางแสดงรอบๆกรมเลียน พระธาตุหลวงเวียงจันทน์

พระพุทธรูปปางชนะมาร สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลปสิงหล ยุคก่อนล้านช้างในศตวรรตที่ 13

พระพุทธรูปปางห้ามญาติ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลปสิงหล ยุคก่อนล้านช้างในศตวรรตที่ 13

พระพุทธรูปปางสมาธิ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลป ล้านช้าง สร้างในปี 1957

พระพุทธรูปปางสมาธิ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลป ล้านช้าง สร้างในปี 1957.

ทัวร์ลาว โดยทีมงานคุณภาพไทยลาว